preloader

08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

วิธีคำนวณค่าบอกกล่าวเลิกจ้างคิดอย่างไร

วิธีคำนวณค่าบอกกล่าวเลิกจ้างคิดอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 13816/2555

นายอุดร        กล้าหาญ                        โจทก์

บริษัท  สยามเทเบิ้ลแวร์  จำกัด            จำเลย

เรื่อง 1. วิธีคำนวณค่าบอกกล่าวเลิกจ้างคิดอย่างไร
2. หากเลิกจ้างโดยไม่ไว้วางใจ เป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมไหม
3. เลิกจ้างเป็นธรรม แต่ทำไมต้องจ่ายค่าบอกกล่าว

 

ทำร้ายร่างกายผู้อื่นในบริเวณบริษัทฯ ร้ายแรงหรือไม่

ทำร้ายร่างกายผู้อื่นในบริเวณบริษัทฯ ร้ายแรงหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 13806/2555

นายสันติพงศ์ แจ่มทวีกุล                โจทก์ 

บริษัท แฟร์ดีล เซอร์วิส จำกัด           จำเลย

เรื่อง 1.  ทำร้ายร่างกายผู้อื่นในบริเวณบริษัทฯ ร้ายแรงหรือไม่
       2.  การพิจารณาว่าร้ายแรงดูจากอะไร

 

คำร้องบรรยายฟ้องของผู้ร้องแสดงโดยแจ้งชัด ซึ่งสภาพแห่งข้อหา และคำขอบังคับ คำร้องจึงไม่เคลือบคลุม

คำร้องบรรยายฟ้องของผู้ร้องแสดงโดยแจ้งชัด ซึ่งสภาพแห่งข้อหา และคำขอบังคับ คำร้องจึงไม่เคลือบคลุม

คำพิพากษาฎีกาที่ 13805/2555

บริษัทไลอ้อน ไทร์ส (ประเทศไทย) จำกัด                      ผู้ร้อง

นายวันชัย   บุญมี                                                   ผู้คัดค้าน

เรื่อง   คำร้องบรรยายฟ้องของผู้ร้องแสดงโดยแจ้งชัด ซึ่งสภาพแห่งข้อหา และคำขอบังคับ คำร้องจึงไม่เคลือบคลุม

 

ลูกจ้างไม่ยอมปรับเปลี่ยนตามนโยบายการจ้างรายชั่วโมงเป็นจ้างรายเดือน ทำให้นายจ้างได้รับผลกระทบ

ลูกจ้างไม่ยอมปรับเปลี่ยนตามนโยบายการจ้างรายชั่วโมงเป็นจ้างรายเดือน ทำให้นายจ้างได้รับผลกระทบ

คำพิพากษาฎีกาที่ 12716 – 12718/2555

นายกฤษดา  ธุระสะ       ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน         โจทก์ 

บริษัท ยางสยามพระประแดง จำกัด                         จำเลย

เรื่อง  1.     ลูกจ้างไม่ยินยอมตกลงทำสัญญาจ้างแรงงานใหม่ ให้ขัดหรือแย้งกับข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพ การจ้างเดิมไม่เป็นการฝ่าฝืน ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน เมื่อนายจ้างเลิกจ้าง ต้องจ่ายค่าชดเชย  
ตามกฎหมาย
       2.     ลูกจ้างไม่ยอมปรับเปลี่ยนตามนโยบาย การจ้างรายชั่วโมงเปลี่ยนเป็นจ้างรายเดือน ทำให้นายจ้าง ได้รับผลกระทบ ต่อระบบการบริหารงานบุคคล และระบบบริหารค่าจ้าง เป็นการกระทำอันไม่สมแก่การปฏิบัติหน้าที่ ของ ตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้อง และสุจริต นายจ้างเลิกจ้าง ไม่ต้องจ่ายสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า และไม่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม แต่เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม

นายจ้างจะยึดเงินค่าจ้างไว้ได้หรือไม่

นายจ้างจะยึดเงินค่าจ้างไว้ได้หรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 16802/2555

นางสาวชฎาภรณ์      โพธิ์งาน                         โจทก์ 

บริษัท  เอส.เอส.อาร์. แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด         จำเลย

เรื่อง  1. ลูกจ้างทุจริตและละทิ้งหน้าที่เกิน 3 วันทำงาน นายจ้างควรทำอย่างไร
        2. นายจ้างจะยึดเงินค่าจ้างไว้ได้หรือไม่
        3. จะต้องแจ้งความภายในกี่วัน
        4. ให้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ ควรมีข้อความยังไง

ลูกจ้างควบคุมเครื่องจักร แต่ขายอาหารในเวลาทำงาน ผิดร้ายแรงไหม

ลูกจ้างควบคุมเครื่องจักร แต่ขายอาหารในเวลาทำงาน ผิดร้ายแรงไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 15077/2555 

บริษัท ไฮ – เทค  รับเบอร์ โปรดัคส์                             โจทก์  

นางกมลรัตน์  ไชยบุดดี  ในฐานะพนักงานตรวจแรงงาน   จำเลย 

เรื่อง       1.  ลูกจ้างควบคุมเครื่องจักร  แต่ขายอาหารในเวลาทำงาน  ผิดร้ายแรงไหม  

             2.  หากลูกจ้างต้องจ่ายเงินอะไรบ้าง

ขาดทุนสะสมและลดคนเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม

ขาดทุนสะสมและลดคนเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม

คำพิพากษาฎีกาที่ 13807-13808/2555

นายลำพูล กันเขียว
นายบรรจง จันทร์เสนา                                                 โจทก์ 

บริษัท คอนทิเนนทอล ปิโตรเคมีคอล (ประเทศไทย) จำกัด      จำเลย

เรื่อง ขาดทุนสะสมและลดคนเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม

 

 

บิดามารดาไม่จดทะเบียนสมรส เมื่อบิดาตาย บุตรจะขอรับเงินบำเหน็จชราภาพได้ไหม

บิดามารดาไม่จดทะเบียนสมรส เมื่อบิดาตาย บุตรจะขอรับเงินบำเหน็จชราภาพได้ไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 13802-13803/2555                               

นายอดิศักดิ์  เอี่ยมนพคุณ            
พลฯ อดิศร  เอี่ยมนพคุณ                       โจทก์ 

สำนักงานประกันสังคม                          จำเลย

เรื่อง   1. บิดามารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรส เมื่อบิดาตาย บุตรจะขอรับเงินบำเหน็จชราภาพได้ไหม
        2. บุตรจะต้องฟ้องให้ศาลเยาวชนรับรองบุตรเรียกก่อน จึงมีสิทธิขอรับเงินบำเหน็จชราภาพ

ฝ่าฝืนคำสั่งไม่รับชำระค่าสินค้าเป็นเงินแต่รับเป็นเช็คแล้วเช็คเด้ง ผิดร้ายแรงไหม

ฝ่าฝืนคำสั่งไม่รับชำระค่าสินค้าเป็นเงินแต่รับเป็นเช็คแล้วเช็คเด้ง ผิดร้ายแรงไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 12713/2555

นายชูเกียรติ  ปรัตถจริยา                                    โจทก์ 

บริษัท ไทยน้ำทิพย์ จำกัด                                   จำเลย

เรื่อง   1. ฝ่าฝืนคำสั่งไม่รับชำระค่าสินค้าเป็นเงิน แต่รับเป็นเช็ค แล้วเช็คเด้ง ผิดร้ายแรงไหม
         2. หากฝ่าฝืนคำสั่ง นายจ้างต้องตักเตือนก่อน

ลูกจ้างที่มีตำแหน่ง จัดทำบัญชีจ่ายเงินค่าจ้างโอนเข้าบัญชีเงินฝากพนักงานเกินกว่าค่าจ้างที่แท้จริง เป็นการทุจริต

ลูกจ้างที่มีตำแหน่ง จัดทำบัญชีจ่ายเงินค่าจ้างโอนเข้าบัญชีเงินฝากพนักงานเกินกว่าค่าจ้างที่แท้จริง เป็นการทุจริต

คำพิพากษาที่ 5467/2555

บริษัทกู๊ดเยียร์(ประเทศไทย) จำกัด ( มหาชน)                    โจทก์

นายบุญส่ง วลัยวิทย์ ที่ 1
นายปรัญชา วลัยวิทย์ ที่ 2
นายวชิรา วลัยวิทย์ ที่ 3                                                       จำเลย

เรื่อง 1.ลูกจ้างที่มีตำแหน่ง จัดทำบัญชีจ่ายเงินค่าจ้างโอนเข้าบัญชีเงินฝากพนักงานเกินกว่าค่าจ้างที่แท้จริง เป็นการทุจริต

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว