เทคนิคการสอบสวนหลักสูตร เทคนิคการสอบสวน การลงโทษทางวินัยที่ชอบด้วยกฎหมาย
และ  Workshop  การเขียนเอกการสอบสวน/คำสั่งเลิกจ้าง-หนังสือเตือน
ให้เป็นไปตามกฎหมาย
โดยอาจารย์ ไพบูลย์      ธรรมสถิตย์มั่น

 หลักสูตร เทคนิคการสอบสวน การลงโทษทางวินัยที่ชอบด้วยกฎหมาย
และ  Workshop  การเขียนเอกการสอบสวน/คำสั่งเลิกจ้าง-หนังสือเตือน
ให้เป็นไปตามกฎหมาย
โดยอาจารย์ ไพบูลย์      ธรรมสถิตย์มั่น

Program  Highlight
• หลักคิดและขั้นตอน “การดำเนินการทางวินัยกับพนักงานและการเตือนหรือเลิกจ้าง
• การดำเนินการทางวินัยและการนสอบสวนก่อนดำเนินการเตือนหรือเลิกจ้าง
• ขั้นตอนและวิธีการเขียนหนังสือเตือนหรือเขียนคำสั่งเลิกจ้างที่ชอบด้วยกฎหมาย
• วิเคราะห์เจาะลึกกรณีตัวอย่างและตอบข้อซักถามอย่างเฉพาะเจาะจงกับปัญหาจริง
• ภาคปฎิบัติในการสอบสวน การเขียนหนังสือแจ้งโทษ และลงมือเขียนหนังสือเตือนหรือเขียนคำสั่งเลิกจ้าง

สาระการเรียนรู้
1. นายจ้างเลิกจ้างผิดพลาด มี 18 ข้อ  อะไรบ้าง
2. ข้อกฎหมาย ที่จ่ายตามผลงานมีข้อควรระมัดระวังอย่างไร
3. วิธีเขียนคำสั่งเลิกจ้าง  34 ข้อ
4. ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานกรณีร้ายแรงดูจากอะไร
5. พรบ. คุ้มครองแรงงาน มาตรา 119  ต่างกับ พรบ.แรงงานสัมพันธ์ มาตรา 123 อย่างไร
6. ขั้นตอนของคณะสอบสวน มี 9 ข้อ
7. วิธีแจ้งข้อกล่าวหา มี 5 ข้อ
8. หลักเกณฑ์การพิจารณาโทษ มี 9 ข้อ
9. เลิกจ้างไม่เป็นธรรมตาม พรบ.จัดตั้งศาล พ.ศ. 2522 มาตรา 49  มี 13 ข้อ
10. ก่อนลงโทษ ต้องพิจารณาให้ครบองค์ประกอบความผิดสำเร็จ
11. วิธีสอบสวนมี 16 ข้อ
12. รูปร่างหน้าตาของหนังสือสอบสวนมีสาระสำคัญ 9 ข้อ
13. วิธีกำหนดประเด็นการสอบสวน และการตั้งคำถามในการสอบสวนควรทำอย่างไร
14. แบบฟอร์มการลงโทษทางวินัย มี 13 ข้อ
15. หลักในการพิจารณาความผิดลูกจ้าง มี 5 ข้อ
16. ข้อควรระวังในการเขียนหนังสือเตือน 18 ข้อ
17. Up date กฎหมายแรงงาน , กฎกระทรวง และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวกับแรงงาน
******************************************************