1. ความหมายและขอบเขตของข้อตกลงสภาพการจ้าง และของการเจรจาต่อรองสหภาพ-
 แรงงาน/กลุ่มพนักงาน
Meaning and scope of working condition agreement and of negotiation  with labor union/ groups of employee;

 

2. ประเภทของข้อตกลงสภาพการจ้างและที่มา
Types and sources of working condition agreement;

3.  ข้อบังคับการทำงาน VS ข้อตกลงสภาพการจ้าง
Regulations related to work V.S. Working condition agreement;

4. รูปแบบและวิธีการปรับเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้าง
Styles and methods of changing working conditions;

5. พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ กับขั้นตอนการยื่นข้อเรียกร้องและระงับข้อพิพาทแรงงาน
Labor Relations Act and the steps for submitting the demand and  settlement of labor dispute;

6. ข้อพึงระวังที่ห้ามพลาด
Cautions
 6.1 การยื่นข้อเรียกร้องซ้ำซ้อน จากคนละกลุ่ม
Redundant submission for demand, from different groups;
 6.2 วิธีการป้องกันการยื่นข้อเรียกร้องซ้ำซ้อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย
How to prevent redundant or illegal submission for demand;
 6.3 ทำไมบางแห่งมีสหภาพแรงงานแต่ยื่นข้อเรียกร้องไม่ได้?
Why can some labor unions not submit the demand?

7. หลักและกลยุทธ์ในการเข้าเจรจาต่อรอง
Principles and strategies for entering negotiation
 7.1 กำหนดวัตถุประสงค์ของการเจรจาต่อรองที่สำคัญ
Define important objectives of the negotiation
7.2 การค้นหาความต้องการที่แท้จริงของคู่เจรจา
Finding the true demand of the dialogue partner;
 7.3 รูปแบบและกลยุทธ์การเจรจาต่อรองที่สำคัญ
Significant styles and strategies of negotiation;
 7.4 เมื่อต้องเข้าเจรจาต่อรองควรมีกติกาอะไรที่ป้องกันปัญหาในระหว่างการเจรจาฯ
What should be the proper rules to prevent troubles that may arise while  entering the negotiation?
 7.5 การประเมินว่าจุดยืนของฝ่ายจัดการมีความเข้มแข็งเพียงไร
Estimating the militancy level of standpoint of management   division;
 7.6 ข้อระมัดระวังระหว่างการเจรจาและสิทธิคุ้มครองของกฎหมาย
Cautions while entering negotiation and legal rights for protection;
 7.7 เทคนิคการอ่านท่าทีของคู่เจรจาจากภาษาพูดและภาษากาย
Tips for reading the mind of dialogue partners from their verbal  and non-verbal language;
 7.8 เทคนิคในการจัดการและการตอบโต้ระหว่างการเจรจาต่อรอง
Tips for dealing and counteracting during negotiation;
 7.9 ศิลปะการควบคุมอำนาจในการเจรจาต่อรอง
The art of controlling power during negotiation;
 7.10 กลยุทธ์การใช้ภาษาและการถามคำถามให้เกิดประโยชน์ในการเจรจาต่อรอง
Strategies for the optimized wording usage and questioning during  negotiation;
 7.11 สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงและบทเรียนจากประสบการณ์
Things that should be avoided and lessons from experience;
7.12 การทำความเข้าใจความต้องการของสหภาพแรงงาน/กลุ่มพนักงาน
Understanding the demand of labor unions/ groups of employee;
7.13 การเจรจากันภายในของฝ่ายบริหารเพื่อให้ได้ข้อตกลงก่อนที่จะเจรจากับฝ่ายผู้ยื่นข้อเรียกร้อง
Internal negotiation of executive department in order to reach a   conclusion before negotiates with the party who submit the   demand; 

7.14 การรับมือกับการสไตล์
How to deal with labor strike;
 7.15 หลังการเจรจาแต่ละครั้งควรทำอย่างไร?
What are the proper practices after each negotiation? 

    **********************************