preloader

08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

การโยกย้ายตำแหน่งพนักงาน และหรือการไม่มอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ เป็นอำนาจการบริหารที่นายจ้างทำได้จริงแต่ต้องเป็นการกระทำโดยสุจริต ไม่เป็นที่เสียหายแก่ลูกจ้าง และต้องไม่เป็นการกลั่นแกล้งด้วย

การโยกย้ายตำแหน่งพนักงาน และหรือการไม่มอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ เป็นอำนาจการบริหารที่นายจ้างทำได้จริงแต่ต้องเป็นการกระทำโดยสุจริต ไม่เป็นที่เสียหายแก่ลูกจ้าง และต้องไม่เป็นการกลั่นแกล้งด้วย

คำพิพากษาที่ 5462/2555

นายสังคม    ไก่แก้ว                                                             โจทก์

บริษัท เคอรี่ ดีสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด                    จำเลย

เรื่อง 1. การโยกย้ายตำแหน่งพนักงาน และหรือการไม่มอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ เป็นอำนาจการบริหารที่นายจ้างทำได้จริงแต่ต้องเป็นการกระทำโดยสุจริต ไม่เป็นที่เสียหายแก่ลูกจ้าง และต้องไม่เป็นการกลั่นแกล้งด้วย

พนักงานขับรถ มีพฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหาร

พนักงานขับรถ มีพฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหาร

คำพิพากษาที่ 2962/2555

นายสุวัฒน์ ปรีชาธรรม                                                 โจทก์

บริษัททางด่วนกรุงเทพ  จำกัด (มหาชน)                    จำเลย

เรื่อง  1.พนักงานขับรถ มีพฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหาร
2.ไม่ให้ความร่วมมือในการทำงาน
3.ปฏิเสธทำงานในวันนักขัตฤกษ์ในกรณีจำเป็น
4.ไม่ให้ความร่วมมือทำงานล่วงเวลา
5.ลาป่วยหรือลาฉุกเฉินทำให้เกิดอุปสรรคในการบริหารงาน
6.มีกิริยาก้าวร้าวไม่เคารพผู้บังคับบัญชา
7.อารมณ์ไม่ดีจะขับรถเร็ว
8.ละทิ้งงานโดยไม่มีเหตุอันสมควร

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานระบุเกษียณอายุ 60 ปี แก้เป็น 55 ปี ได้ไหม

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานระบุเกษียณอายุ 60 ปี แก้เป็น 55 ปี ได้ไหม

คำพิพากษาที่ 2127/2555

นางอัจฉราวรรณ   วจนานนท์                                              โจทก์

บริษัทซีบี  ริชาร์ด  เอลลิส (ประเทศไทย)  จำกัด                จำเลย

เรื่อง 1.ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานระบุเกษียณอายุ 60 ปี แก้เป็น 55 ปี ได้ไหม
2.วิธีแก้ไขต้องทำอย่างไร
3.เมื่ออายุครบเกษียณต้องบอกกล่าวเลิกจ้างล่วงหน้าไหม
4.เมื่ออายุครบเกษียณต้องจ่ายค่าชดเชยไหม
5.แก้อายุเกษียณจาก 55 ปี เป็น 60 ปี ต้องทำอย่างไร
6.หากแก้ไขข้อบังคับเรื่องเกษียณอายุไม่ชอบด้วยกฎหมายผลจะเป็นอย่างไร
7.หนังสือยินยอมแก้ข้อบังคับควรมีข้อความอย่างไร
8.คู่มือพนักงานเป็นข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานไหม
9.ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างไหม

นายจ้างเลิกจ้างเพราะเหตุปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารงาน และลดอัตราค่าจ้างมีการปรับลดหน่วยงานทั้งบริษัท ไม่ได้เลือกปฏิบัติ  เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

นายจ้างเลิกจ้างเพราะเหตุปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารงาน และลดอัตราค่าจ้างมีการปรับลดหน่วยงานทั้งบริษัท ไม่ได้เลือกปฏิบัติ เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาที่ 2124/2555

นายบรรลือ  เสียงสนั่น                                    โจทก์

บริษัทไดมอนลีฟ (ไทยแลนด์) จำกัด             จำเลย

เรื่อง   1.นายจ้างเลิกจ้างเพราะเหตุปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารงาน และลดอัตราค่าจ้างมีการปรับลดหน่วยงานทั้งบริษัท ไม่ได้เลือกปฏิบัติ  เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่ และนายจ้างต้องรับกลับเข้าทำงานตามเดิม  หรือชดใช้ค่าเสียหายตามฟ้องหรือไม่

ดื่มสุราในห้องควบคุมเครื่องไฟฟ้า มีถังแก๊ส พร้อมทั้งสูบบุหรี่ และยกสายโทรศัพท์ออกเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับที่ร้ายแรงไหม

ดื่มสุราในห้องควบคุมเครื่องไฟฟ้า มีถังแก๊ส พร้อมทั้งสูบบุหรี่ และยกสายโทรศัพท์ออกเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับที่ร้ายแรงไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 5558/2554

นายพรสวรรค์ แพงพุย โจทก์

บริษัท อลิซาเบธอาเขต จำกัด จำเลย

เรื่อง 1.ดื่มสุราในห้องควบคุมเครื่องไฟฟ้า มีถังแก๊ส พร้อมทั้งสูบบุหรี่ และยกสายโทรศัพท์ออกเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับที่ร้ายแรงไหม
2.นายจ้างมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายได้ไหม
3.ภาระการพิสูจน์ของนายจ้างแต่ไม่มีพยานผลจะเป็นอย่างไร

โจทก์นำขดลวดหนัก 150 กิโลกรัมใส่รถขนขยะเอาเศษขยะปกคลุมไว้ จำเลยมาตรวจพบเสียก่อน โจทก์อ้างว่ายังไม่ได้นำออกจากบริษัทฯจะถือว่าร้ายแรงไหม

โจทก์นำขดลวดหนัก 150 กิโลกรัมใส่รถขนขยะเอาเศษขยะปกคลุมไว้ จำเลยมาตรวจพบเสียก่อน โจทก์อ้างว่ายังไม่ได้นำออกจากบริษัทฯจะถือว่าร้ายแรงไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 181/2555

นายสมร ผดุงทิพย์ โจทก์

บริษัท อูช่า สยาม สตีล อินดัสตรี้ยส์ จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง โจทก์นำขดลวดหนัก 150 กิโลกรัมใส่รถขนขยะเอาเศษขยะปกคลุมไว้ จำเลยมาตรวจพบเสียก่อน โจทก์อ้างว่ายังไม่ได้นำออกจากบริษัทฯจะถือว่าร้ายแรงไหม

การควบคุมคลังสินค้าทำอย่างไร

การควบคุมคลังสินค้าทำอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 6779/2554

นายจิตต์ภิรมย์ มโนมัธย์ โจทก์

บริษัทไทยฮิตาชิลวดอาบน้ำยา จำกัด จำเลย
เรื่อง 1.การควบคุมคลังสินค้าทำอย่างไร
2.ขั้นตอนการเรียกเก็บเงินจากลูกค้ามีขั้นตอนอย่างไร
3.การมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบทำอย่างไร

การใช้สิทธิลาสวัสดิการของลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างทำอย่างไร

การใช้สิทธิลาสวัสดิการของลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างทำอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 182-184/2555

บริษัทนากาชิมา รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ร้อง

นางสาวกัลยา ศรีสวัสดิ์ กับพวกรวม 3 คน ผู้คัดค้าน

เรื่อง 1.การใช้สิทธิลาสวัสดิการของลูกจ้างซึ่งเป็นกรรมการลูกจ้างทำอย่างไร
2.การพิจารณาการกระทำผิดของลูกจ้าง กรณีร้ายแรงหรือไม่ดูจากอะไร

จำเลยกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้โรงงานของจำเลยหรือไม่

จำเลยกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้โรงงานของจำเลยหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 3001-3051/2555

นายสุริยา นามหงษา ที่ 1 กับพวกรวม 51 คน โจทก์

บริษัทกู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จำกัด มหาชน จำเลย

เรื่อง 1.จำเลยกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้โรงงานของจำเลยหรือไม่
2.กรณีเกิดเพลิงไหม้ มีผลกระทบต่อการประกอบกิจการของจำเลย จำเป็นต้องหยุดกิจการบางส่วนเป็นการชั่วคราวตามม.75 ได้ไหม
3.จำเลยจ่ายค่าจ้างแก่โจทก์ทั้ง 51 คน ในอัตราร้อยละ 75 ของค่าจ้างในวันทำงานที่ได้รับก่อนหยุดกิจการ สำหรับการหยุดงาน 3 วันแรกของเดือน ส่วนตั้งแต่วันที่ 4 เป็นต้นไปจ่ายค่าจ้างอัตราร้อยละ 50 ตามข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างและข้อบังคับการทำงานของนายจ้าง และ พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 75 ถูกต้องหรือไม่
4.ไฟไหม้ในขบวนการผลิตต้นน้ำ แต่สั่งหยุดตามม.75 ที่ขบวนการผลิตปลายน้ำได้ไหม

ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเรื่องการรักษาพยาบาลควรมีเงื่อนไขอย่างไร

ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเรื่องการรักษาพยาบาลควรมีเงื่อนไขอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 9755/2554

สหภาพแรงงานผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช กับพวกรวม 2 คน โจทก์

บริษัทธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัด จำเลย

เรื่อง 1.ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างเรื่องการรักษาพยาบาลควรมีเงื่อนไขอย่างไร
2.เงื่อนไขการรักษาพยาบาล ต้องเกิดจากในงานหรือนอกงาน
3.เงื่อนไขอัตราค่ารักษาพยาบาล ควรระบุวงเงินเท่าใด ต่อคนต่อปี
4.หากเจ็บป่วยนอกงานจะรักษาได้ทุกโรคไหม
5.เงื่อนไขการรักษาพยาบาลตามสิทธิประกันสังคมควรรักษาก่อนหรือรักษาตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของนายจ้างก่อน
6.เงื่อนไขการเข้ารักษาพยาบาลควรเป็นโรงพยาบาลใด(เอกชนหรือรัฐบาล)
7.ข้อดีข้อเสียในการซื้อประกันกลุ่มรักษาพยาบาล
8.สหภาพแรงงานจะฟ้องนายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร
9.หากนายจ้างจ่ายเงินค่ารักษาไปก่อนแล้วจะหักเงินตาม ม.76/41 ได้ไหม
10.นายจ้างจะหักเงินค่ารักษาพยาบาลเกินสิทธิจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้ไหมถ้าลูกจ้างลาออก
11.นายจ้างถูกฟ้องต้องแก้ต่างคดีจะคุ้มกับเงินที่นายจ้างหักไว้ไหม
12.ต้องรีบย้ายโรงพยาบาลไปยังโรงพยาบาลตามสิทธิภายในกี่ชั่วโมง
13.ประชุมชี้แจ้งให้ผู้จัดการกะกลางคืนทราบด้วย
14.เป็นความกันกินขี้หมาดีกว่า
15.หากมีประกันภัยรถยนต์

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว