1.ต้องทำเป็นหนังสือตาม กฎหมายแรงงาน มาตรา 17 วรรค 2 / 51

2. ต้องระบุข้อเท็จจริงตาม กฎหมายแรงงาน มาตรา 119 วรรคท้าย / 51

3. ต้องระบุจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด ภายใน 3 วันตาม กฎหมายแรงงาน ตามมาตรา 70 วรรคท้าย / 41

4. การระบุข้อเท็จจริง ต้องเป็นข้อเท็จจริง ห้ามมีข้อเท็จ อาจถูกฟ้องหมิ่นประมาท ตาม ป.อ.ม. 326″ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียงถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชังผู้นั้นกระทำความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ” (ดูม.328 โฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ตัวอักษร ฯลฯ)

5.หลักการเขียนคำสั่งเลิกจ้างให้ครอบคลุมตาม กฎหมายแรงงาน ที่ระบุว่าร้ายแรงมี 6 ข้อ

6.การเขียนใบรับเงินเมื่อเลิกจ้าง (เงินตาม กฎหมายแรงงาน มีอย่างน้อย 22 อย่าง)

7.วิธีการนับวันหยุดพักผ่อนประจำปีที่ค้างจ่ายตาม กฎหมายแรงงาน

8.การเขียนอายุครบเกษียณควรครบวันใดดี ซึ่งจะมีผลถึงการเลิกจ้างสะดวกที่สุด

9.การเขียนวันจ่ายค่าจ้างควรเป็นวันใดดี ซึ่งจะมีผลถึงการเลิกจ้างสะดวกที่สุด

10.ถ้าหาความผิดไม่ได้ ไม่มีหลักฐาน หากจะเลิกจ้างควรอ้างเหตุ 11 ประการ

11.เรื่องการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาล ม.49 มี 11 เหตุ

12.เลิกจ้างไปแล้วศาลบอกว่าเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมต่างกับเลิกจ้างไม่เป็นธรรมอย่างไร

13.การเขียนคำสั่งเลิกจ้างกรณีไม่มีสหภาพกับกรณีมีสหภาพตาม กฎหมายแรงงาน ควรเขียนอย่างไร

14.เมื่อเลิกจ้างแล้วใบรับเงินควรระบุข้อความอย่างไรจึงจะป้องกันการฟ้องภายหลัง(อ้างอิงฎีกาที่ 5267/2548)

15.วันใด เวลาใด สถานที่ใด ที่เหมาะสมสำหรับการเลิกจ้าง

16.เลิกจ้างพร้อมกัน 12 คน หรือจะแยกเลิกจ้างทีละคน

17.เลิกจ้างคราวเดียว 56 คน ควรเขียนคำสั่ง 56 ใบ หรือเขียนเพียง 1 ใบ

18.วิธีแจ้งคำสั่งเลิกจ้างตาม กฎหมายแรงงาน มี 5 วิธี

19.ควรละเว้นบรรจุคำสั่งเลิกจ้างตามม.121/41

20.บุคคลที่เหมาะสมในการลงนามในคำสั่งเลิกจ้างสมควรเป็นผู้ใด

21.วิธีพูดเลิกจ้างในขณะเผชิญหน้ากับลูกจ้าง ควรมีวิธีการอย่างไร

22.ระบุ ป.พ.พ. 583 ตาม ม.17 ว.ท้าย/51

23.ห้ามพิมพ์ชื่อ นามสกุล ผิด

24.ช่วงจังหวะที่เลิกจ้างห้ามฝ่าฝืน ม.31/18

25.ลูกจ้างทุจริต อยู่ระหว่างสอบสวน แต่สอบสวนยังไม่เสร็จ รีบลาออกจะได้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพไหม

26.กรรมการลูกจ้างถูกฟ้องว่าเล่นการพนัน รีบลาออกจะได้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพไหม

27.หากลดคนอ้างเหตุเลิกจ้างตาม ม.121/41 ซึ่งดีกว่าเลิกจ้างเหตุอื่น

28.เลิกจ้างเพราะเหตุมีครรภ์ตาม กฎหมายแรงงาน ม.43/41 + ม.144/51

29.เลิกจ้างกรรมการลูกจ้างตาม กฎหมายแรงงาน ต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อน

30.เลิกจ้างอันเป็นการผิดสัญญาจ้างตาม กฎหมายแรงงาน

31.เลิกจ้างโดยไม่ออกหนังสือสำคัญแสดงการทำงาน

32.เลิกจ้างแล้วสละสิทธิฟ้องร้อง

33.โครงการร่วมใจจาก