ทดสอบความรู้ด้านกฎหมายแรงงาน

 

1. วิธีการให้ลูกจ้างทราบหนังสือเตือนทำอย่างไร

2. การเลิกจ้างลูกจ้างที่ถูกตักเตือนโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

3. กรณีศึกษาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการตักเตือน

4. ฝ่ายบุคคลจะมีเทคนิคในการแจ้งให้ลูกจ้างทราบคำเตือนอย่างไร หากลูกจ้างไม่ลงชื่อรับทราบคำเตือน

5. หากนายจ้างเตือนด้วยวาจา แต่บันทึกการลงโทษไว้เป็นลายลักษณ์อักษร จะถือว่าเป็นการเตือนด้วยวาจา หรือเตือนเป็นหนังสือ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการจ่ายค่าชดเชย

6. แนวทางการพิจารณาว่าเป็น “สัญญาจ้างที่มีกำหนดเวลา” หรือ “สัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดเวลา” ซึ่งมีผลกระทบต่อการบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นอย่างไร

7. กรณีตกลงทำสัญญาจ้างที่มีกำหนดเวลาจ้างแน่นอน หากนายจ้างต้องการจะเลิกสัญญาจ้างก่อนครบกำหนดระยะเวลานายจ้างต้องมีหน้าที่บอกกล่าวล่วงหน้าก่อนเลิกจ้างหรือไม่

8. นายจ้างอาจเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ในกรณีที่ลูกจ้างได้กระทำผิดร้ายแรง มีแนวทางการตีความอย่างไรที่จะถือว่าเป็น “การกระทำผิดที่ร้ายแรง”

9. นายจ้างควรใช้ดุลยพินิจในการลงโทษทางวินัยอย่างไรเพื่อลดข้อพิพาทแรงงาน กรณีใดที่ไม่ถือว่าลูกจ้างฝ่าฝืนข้อบังคับการทำงาน การกระทำใดที่ถือว่าเป็นการฝ่าฝืนในกรณีที่ร้ายแรง หรือ ไม่ร้ายแรง

10. การเลิกจ้างลูกจ้างทดลองงานอย่างไรให้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน

11. การลาออก การปลดออก การไล่ออก : แนวทางการพิจารณาเพื่อบริหารความเสี่ยงกฎหมายแรงงาน

12. การสิ้นวุดสัญญาจ้างเมื่อครบกำหนดเวลา…..

13. ถึงแก่กรรมก่อนเลิกจ้างจะได้รับค่าชดเชยหรือไม่

14. การสิ้นสุดสัญญาจ้างโดยการจัดทำ “โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด” (Early Retirement Program)

15. แนวโน้มการจัดทำโครงการเกษียณอายุก่อนกำหนดกับข้อพิพาทแรงงาน

16. แนวปฎิบัติที่ดีในการกำหนดกลุ่มเป้าหมาย จัดทำคำเชื้อเชิญและข้อตกลงสละสิทธิสำหรับโครงการ Early Retirement

17. ประเด็นที่ฝ่าย HR พึงพิจารณาเมื่อต้องจัดทำ Early Retirement Scheme

18. หลักเกณฑ์การจ่ายเงินที่ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน เนื่องจากการสิ้นสุดสัญญาจ้างในกรณีต่างๆ

19. การตักเตือนด้วยวาจา  ข้อความในหนังสือตักเตือนทำอย่างไร

 

—————————————————————————————–