preloader

08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

โจทก์ไม่ยอมหมอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ ซึ่งลูกจ้างมีหน้าที่ขับรถรับส่งนักท่องเที่ยว เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมหรือไม่

โจทก์ไม่ยอมหมอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ ซึ่งลูกจ้างมีหน้าที่ขับรถรับส่งนักท่องเที่ยว เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 7501/2554

บริษัทเฟิสท์ ทรานสปอร์ต จำกัด โจทก์

คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ โดย นายอัมพร นีละโยธิน ที่ 1 กับพวกรวม 9 คน จำเลย

เรื่อง โจทก์ไม่ยอมหมอบหมายงานให้ลูกจ้างทำ ซึ่งลูกจ้างมีหน้าที่ขับรถรับส่งนักท่องเที่ยว เป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมหรือไม่

บุตรฟ้องศาลเยาวชนขอให้ศาลสั่งว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ก่อนคณะกรรมการอุทธรณ์มีคำวินิจฉัย จึงมีสิทธิรับบำเหน็จชราภาพแทนผู้เป็นพ่อ

บุตรฟ้องศาลเยาวชนขอให้ศาลสั่งว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ก่อนคณะกรรมการอุทธรณ์มีคำวินิจฉัย จึงมีสิทธิรับบำเหน็จชราภาพแทนผู้เป็นพ่อ

คำพิพากษาฎีกาที่ 4105/2554

นายสานิตร โกศลวรรธนะ โดยนางสาวพจนีย์ โกศลวรรธนะ โจทก์

สำนักงานประกันสังคม จำเลย

เรื่อง บุตรฟ้องศาลเยาวชนขอให้ศาลสั่งว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ก่อนคณะกรรมการอุทธรณ์มีคำวินิจฉัย จึงมีสิทธิรับบำเหน็จชราภาพแทนผู้เป็นพ่อ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล  ย่อมไม่เกี่ยวข้องกับนายจ้าง

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล ย่อมไม่เกี่ยวข้องกับนายจ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 6110/2554

นางมุกดา อิ่มสุภาพ โจทก์

บริษัทไทย แอร์พอร์ตส์ กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล ย่อมไม่เกี่ยวข้องกับนายจ้าง
2. เมื่อถูกเลิกจ้าง ลูกจ้างจะฟ้องเรียกเงินสมทบและเงินสะสมจากใคร

ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและลดบุคลากร  แต่ข้อเท็จจริงมีการจ้างพนักงานอื่นมาทำแทนโจทก์  มีเหตุสมควรเพียงพอเลิกจ้างโจทก์หรือไม่

ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและลดบุคลากร แต่ข้อเท็จจริงมีการจ้างพนักงานอื่นมาทำแทนโจทก์ มีเหตุสมควรเพียงพอเลิกจ้างโจทก์หรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 5323/2554

นายวีรชน สิงห์น้อย โจทก์

บริษัท ไอ บี เอ็ม ประเทศไทย จำกัด ที่ 1
นางสาวศุภจี สุธรรมพันธ์ ที่ 2
นายมาร์ค อีสตัน ที่ 3 จำเลย

เรื่อง 1. ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและลดบุคลากร แต่ข้อเท็จจริงมีการจ้างพนักงานอื่นมาทำแทนโจทก์ มีเหตุสมควรเพียงพอเลิกจ้างโจทก์หรือไม่
2. เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมไหม
3. ทำหนังสือสละสิทธิไม่เรียกร้องใดๆ อีก จะฟ้องอีกได้ไหม

ลูกจ้างไปร้องเจ้าหน้าที่เกินกว่า 2 ปี แต่นายจ้างไม่ได้ต่อสู้เรื่องอายุความไว้ แต่มายกต่อสู้ในชั้นศาลได้หรือไม่

ลูกจ้างไปร้องเจ้าหน้าที่เกินกว่า 2 ปี แต่นายจ้างไม่ได้ต่อสู้เรื่องอายุความไว้ แต่มายกต่อสู้ในชั้นศาลได้หรือไม่

คำพิพากษาที่ 749/2554

บริษัทบอร์เนียว เทคนิเคิล (ประเทศไทย) จำกัด โจทก์

นางสาวสุกัญญา พันธ์แวงมนต์ จำเลย

เรื่อง 1. ลูกจ้างไปร้องเจ้าหน้าที่เกินกว่า 2 ปี แต่นายจ้างไม่ได้ต่อสู้เรื่องอายุความไว้ แต่มายกต่อสู้ในชั้นศาลได้หรือไม่

การบอกเลิกสัญญาจ้างทำด้วยวาจาได้ไหม

การบอกเลิกสัญญาจ้างทำด้วยวาจาได้ไหม

คำพิพากษาที่ 5681-5684/2554

นายประเสริฐ โกศัยดิลก ที่ 1 กับพวกรวม 4 คน โจทก์

บริษัทไทย โอ.พี.พี. จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. การบอกเลิกสัญญาจ้างทำด้วยวาจาได้ไหม
2. ลาออกโดยแจ้งล่วงหน้าแต่นายจ้างเลิกจ้างก่อนถึงกำหนดวันลาออกผลจะเป็นอย่างไร

จำเลยมีคำสั่งให้เลิกจ้างโจทก์แล้ว  เนื่องจากโจทก์ยักยอกเงินไป   ต่อมาโจทก์นำเงินมาคืน  และขอให้จำเลยไม่ดำเนินคดีอาญา  และโจทก์ขอเขียนใบลาออก  โจทก์จะมีสิทธิ์ได้ค่าชดเชยหรือไม่

จำเลยมีคำสั่งให้เลิกจ้างโจทก์แล้ว เนื่องจากโจทก์ยักยอกเงินไป ต่อมาโจทก์นำเงินมาคืน และขอให้จำเลยไม่ดำเนินคดีอาญา และโจทก์ขอเขียนใบลาออก โจทก์จะมีสิทธิ์ได้ค่าชดเชยหรือไม่

คำพิพากษาที่ 5016 / 2554

นายพัชริศ จักรายุธ โจทก์

บริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. จำเลยมีคำสั่งให้เลิกจ้างโจทก์แล้ว เนื่องจากโจทก์ยักยอกเงินไป ต่อมาโจทก์นำเงินมาคืน และขอให้จำเลยไม่ดำเนินคดีอาญา และโจทก์ขอเขียนใบลาออก โจทก์จะมีสิทธิ์ได้ค่าชดเชยหรือไม่
2. สัญญาจ้างระงับไปเมื่อใด
3. นายจ้างจะดำเนินคดีอาญามีอายุความเท่าไหร่
4. นายจ้างเลิกจ้างผิดพลาดมีกี่วิธี
4.1. ค่าจ้างค้างจ่าย ม.70+144
4.2. ใบผ่านงาน ปพพ.586
4.3 คำสั่งเลิกจ้างถ้าอ้างยักยอกก็หมิ่นประมาท ต้องกระทำผิดม.119(1)
5. นายจ้างจะแจ้งออก สปส.1-09 อย่างไร
6. ลูกจ้างเอาเงินมาคืนแล้วไม่ให้ดำเนินคดีอาญาควรเขียนสัญญาประนีประนอมอย่างไร
7. สิทธิประโยชน์ในประกันสังคม ลูกจ้างจะได้รับอย่างไร
8. เมื่อยักยอกถูกเลิกจ้างมีสิทธิได้วันหยุดพักผ่อนประจำปีไหม
9. เมื่อยักยอกถูกเลิกจ้างมีสิทธิได้วันหยุดพักผ่อนประจำปีสะสมไหม

ลูกจ้างทุจริตต่อนายจ้าง  ปลอมแปลงเอกสารในการสั่งซื้อสินค้าเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง   เป็นการละเมิดต่อนายจ้าง  ทำให้นายจ้างเสียหาย  นายจ้างสามารถเรียกชำระจากผู้ค้ำประกันของลูกจ้าง  ในฐานะลูกหนี้ร่วมได้หรือไม่

ลูกจ้างทุจริตต่อนายจ้าง ปลอมแปลงเอกสารในการสั่งซื้อสินค้าเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง เป็นการละเมิดต่อนายจ้าง ทำให้นายจ้างเสียหาย นายจ้างสามารถเรียกชำระจากผู้ค้ำประกันของลูกจ้าง ในฐานะลูกหนี้ร่วมได้หรือไม่

คำพิพากษาที่ 4550/2554

บริษัทชุ้น จิวเวลรี่ จำกัด โจทก์

นางสาวภัทรีญา บุญแล ที่ 1 กับพวกรวม 3 คน จำเลย

เรื่อง 1. ลูกจ้างทุจริตต่อนายจ้าง ปลอมแปลงเอกสารในการสั่งซื้อสินค้าเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง
เป็นการละเมิดต่อนายจ้าง ทำให้นายจ้างเสียหาย นายจ้างสามารถเรียกชำระจากผู้ค้ำประกันของลูกจ้าง ในฐานะลูกหนี้ร่วมได้หรือไม่
2. กรณีลูกจ้างมีการปรับเปลี่ยนตำแหน่งและหน้าที่ หลังจากที่ได้มีการทำสัญญาค้ำประกัน ผู้ค้ำประกันยังต้องรับผิดในฐานะลูกหนี้ร่วมอีกหรือไม่
3. ลูกจ้างละเมิดนานกว่า 1 ปี คดีขาดอายุความไหม
4. ควรระบุสัญญาค้ำประกันว่า หากมีการเปลี่ยนหน้าที่ลูกจ้างผู้ค้ำต้องรับผิดชอบด้วย

การคิดค่าจ้างเงินเดือนรั่วไหลใครรับผิดชอบ

การคิดค่าจ้างเงินเดือนรั่วไหลใครรับผิดชอบ

คำพิพากษาที่ 4441 / 2554

บริษัทกระดาษศรีสยาม จำกัด ( มหาชน ) โจทก์

นางทิพย์วารี ท้วมใจดี หรือนางดลนภา จิรัคคกุล ที่ 1 กับพวกรวม 5คน จำเลย

เรื่อง 1. การคิดค่าจ้างเงินเดือนรั่วไหลใครรับผิดชอบ

จ้างร.ป.ภ.มาเฝ้าหอพักเป็นการจ้างแรงงานหรือจ้างทำของ

จ้างร.ป.ภ.มาเฝ้าหอพักเป็นการจ้างแรงงานหรือจ้างทำของ

คำพิพากษาที่ 3098/2554

นายอมร พรมทรัพย์ โจทก์

ธรรมพร อพาร์ทเม้นท์ หรือร้อยเอก พรชัย ขาวสบาย จำเลย

เรื่อง 1.จ้างร.ป.ภ.มาเฝ้าหอพักเป็นการจ้างแรงงานหรือจ้างทำของ

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว