preloader

08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

ลูกจ้างทำให้สินค้าสูญหาย นายจ้างใช้สิทธิเลิกจ้างหรือเรียกร้องอะไรได้บ้าง

ลูกจ้างทำให้สินค้าสูญหาย นายจ้างใช้สิทธิเลิกจ้างหรือเรียกร้องอะไรได้บ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 1357/2553

บริษัท โทนี่ เบ็นเนตต์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โจทก์

นางสาวหทัยหรือมณฑา แสนสวัสดิ์ (ลูกจ้าง) ที่ 1

นางนันทา แสนสวัสดิ์ (ผู้ค้ำ) ที่ 2 จำเลย

เรื่อง 1. กรณีลูกจ้างทำให้สินค้าที่อยู่ในความดูแลสูญหายเป็นการละเมิดต่อนายจ้าง หรือผิดสัญญาจ้างทำให้นายจ้างเสียหาย นายจ้างใช้สิทธิเลิกจ้าง และเรียกร้องอะไรได้บ้าง

2. ผู้ค้ำประกันจะต้องรับผิดชอบอย่างลูกหนี้ร่วมด้วยหรือไม่

3. การละเมิดต่อนายจ้างในขณะทำงานตามสัญญาจ้างมีกฎหมายเรื่องอายุความมากำหนดหรือไม่ และหากไม่มีจะใช้อายุความตามกฎหมาย อะไรได้บ้าง

4. ระเบียบวิธีการคุมสต็อกมีระเบียบที่ดีอย่างไร

5. สัญญาค้ำประกันต้องปิดอากรและขีดฆ่าหรือไม่

ลูกจ้างในงานขนส่งทางบก ไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าล่วงเวลาตามกฎหมาย

ลูกจ้างในงานขนส่งทางบก ไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าล่วงเวลาตามกฎหมาย

คำพิพากษาฎีกาที่ 5992-5998 / 2553

นายสมัย อัมพวา ที่ 1 กับพวกรวม 7 คน โจทก์

บริษัท ไอโอ – เซิร์ฟ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. ลูกจ้างในงานขนส่งทางบก ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าล่วงเวลาตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

2. สัญญาประนีประนอมยอมความ มีข้อความบันทึกว่า จะไม่ติดใจเรียกร้องเงินอื่น ๆ เป็นการสละสิทธิเรียกร้องโดยไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน และไม่เป็นโมฆะ มีผลบังคับใช้

3. งานขนส่ง คืออะไร

4. เมื่อทำงานล่วงเวลา นายจ้างต้องจ่ายเป็นค่าอะไร

การบอกเลิกสัญญาจ้าง หากมิได้ระบุความผิดและเหตุแห่งการเลิกจ้างไว้ จะยกขึ้นกล่าวอ้างภายหลังมิได้

การบอกเลิกสัญญาจ้าง หากมิได้ระบุความผิดและเหตุแห่งการเลิกจ้างไว้ จะยกขึ้นกล่าวอ้างภายหลังมิได้

คำพิพากษาฎีกาที่ 8803/2553

นายสรวุฒิ ลิ้มวรการ โจทก์

บริษัทเพอร์เฟ็คท์ ออฟฟิศ เฟอร์นิเจอร์ จำกัด จำเลย

เรื่อง การบอกเลิกสัญญาจ้าง หากมิได้ระบุความผิดและเหตุแห่งการเลิกจ้างไว้ จะยกขึ้นมากล่าวอ้างภายหลังมิได้ ต้องห้ามตามอุทธรณ์ข้อเท็จจริงตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 54

จ่ายค่าชดเชยตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานแล้ว อาจถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายอีกหรือไม่

จ่ายค่าชดเชยตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานแล้ว อาจถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายอีกหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 8802/2553

นายบุญลือ กาลึกสม โจทก์

บริษัทไทยอามส์ จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. จ่ายค่าชดเชยตามคำสั่งพนักงานตรวจแรงงานแล้ว อาจถูกฟ้องเรียกค่าเสียหายอีกหรือไม่

2. ย้ายหน้าที่จากกรุงเทพไปราชบุรี เป็นการเปลี่ยนสภาพการจ้างตาม ม.20/2518 ไหม

การเลิกจ้างเพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การดำเนินธุรกิจ เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

การเลิกจ้างเพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การดำเนินธุรกิจ เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 7797-7807/2553

บริษัทครีเอทีฟ จูซ จีวัน จำกัด จำเลย
นางสาวพรรณทิพา บุญยั่งยืน ที่ 1 กับพวกรวม 11 คน โจทก์

เรื่อง 1. การเลิกจ้างโจทก์ โดยอ้างโจทก์มีอัตราค่าจ้างสูง การเลิกจ้างเพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การดำเนินธุรกิจ โดยโจทก์ไม่มีความผิด เป็นการเลิกจ้างเป็นธรรมหรือไม่

2. จำเลยไม่สามารถนำสืบได้ว่า จำเลยไม่มีงานให้โจทก์ทำหรือหากไม่เลิกจ้างโจทก์ จะทำให้จำเลยขาดทุนแต่อย่างใด การเลิกจ้างโจทก์จึงเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

นายจ้างจำเป็นต้องย้ายสถานประกอบการ มีวิธีการอย่างไร

นายจ้างจำเป็นต้องย้ายสถานประกอบการ มีวิธีการอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 7777-7796/2553

นางสาวกุลวลัย เศรษฐาภรณ์ ที่ 1 กับพวกรวม 20 คน โจทก์

บริษัทการบินบริติชแอร์เวย์ พีแอลซี จำเลย

เรื่อง 1. นายจ้างจำเป็นต้องย้ายสถานประกอบการ มีวิธีการให้ถูกต้องตามกฎหมายอย่างไร

2. นายจ้างบอกเลิกจ้างตามมาตรา 120 แล้ว เป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่

3. นายจ้างคาดเดาว่าลูกจ้างไม่ย้ายจึงเลิกจ้างผลจะเป็นอย่างไร

ผิดสัญญาจ้างแรงงาน, ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

ผิดสัญญาจ้างแรงงาน, ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 1921/2545

นายธนภัทร วรประวิตร โจทก์

บริษัท ยูไนเต็ด มอเตอร์ เซลส์ จำกัดจำเลย

เรื่อง ผิดสัญญาจ้างแรงงาน , ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง

1. โจทก์ฟ้องว่า ขอให้บังคับจำเลยชำระเงินจำนวน 4,386,803 บาท พร้อมเงินเพิ่มและดอกเบี้ย

ค่าเที่ยว ที่นายจ้างให้พนักงานขับรถทำงานขับรถโดยมีเงื่อนไข ไม่ถือเป็นค่าตอบแทนแต่เป็นเงินจูงใจ

ค่าเที่ยว ที่นายจ้างให้พนักงานขับรถทำงานขับรถโดยมีเงื่อนไข ไม่ถือเป็นค่าตอบแทนแต่เป็นเงินจูงใจ

คำพิพากษาฎีกาที่ 6026-6048/2548

นายสมเพียร สุภศร และพวกยี่สิบสองคน โจทก์

บริษัท เอเวอร์กรีนคอนเทนเนอร์เทอร์มินัล (ประเทศไทย)จำกัด จำเลย

เรื่อง

1. ค่าเที่ยว ที่นายจ้างให้พนักงานขับรถทำงานขับรถบรรทุกโดยมีเงื่อนไขว่าจะจ่ายให้เฉพาะเที่ยวที่มีการบรรทุกและต้องทำอัตราสิ้นเปลืองน้ำมันได้ตามที่นายจ้างกำหนดไม่ถือเป็นค่าตอบแทนการทำงานแต่ถือเป็นเงินจูงใจ
2. ค่าจ้างคืออะไร

นายจ้างขาดทุนต้องเข้าฟื้นฟู  การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่

นายจ้างขาดทุนต้องเข้าฟื้นฟู การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 5972-5982/2553

นายอาณัติ คุเณนทราศัย ที่ 1 กับพวกรวม 11 คนโจทก์

บริษัท สินบัวหลวงลิสซิ่ง จำกัดจำเลย

เรื่อง

1. นายจ้างขาดทุนต้องเข้าฟื้นฟูเมื่อเลิกจ้างเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมหรือไม่
2. การคำนวณเงินค่าชดเชย มีวิธีคำนวณอย่างไร

เลิกจ้าง หากมิได้กระทำผิด โจทก์มีสิทธิ์ได้รับอะไรบ้าง

เลิกจ้าง หากมิได้กระทำผิด โจทก์มีสิทธิ์ได้รับอะไรบ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 1039/2553

นางสาวพิมพากานต์ รีเกลโจทก์

บริษัทน้ำมันคาลเท็กซ์ (ไทย) จำกัดจำเลย

เรื่อง

1. กรณีเลิกจ้างโจทก์ หากโจทก์มิได้กระทำผิด โจทก์มีสิทธิ์ได้รับอะไรบ้าง
2. การที่โจทก์มิได้กระทำผิดระเบียบข้อบังคับ การเลิกจ้างโจทก์เป็นธรรมหรือไม่

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว