preloader

08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

เรียกค่าเสียหายการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

เรียกค่าเสียหายการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

คำพิพากษาฎีกาที่ 10746/2553

นางสาวเสาวลักษณ์ สุขเกษม โจทก์

บริษัท แคล คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายจำเลยเลิกจ้างไม่เป็นธรรม

2. การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม พยานหลักฐานไม่พอฟังว่ามีเหตุสมควรการเลิกจ้าง

การคำนวณระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

การคำนวณระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 12037/2553

นายยุทธ สารจิตต์ โจทก์

บริษัท แกรนด์ โฮมมาร์ท จำกัด จำเลยที่ 1

นางบุณฑริกา เดชอุ่ม จำเลยที่ 2

เรื่อง 1. ม.19 การคำนวณระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

2. ลูกจ้างขาดงาน 1 วัน จะนับเป็นระยะเวลาทำงานไหม

3. ม.118 ให้นับระยะเวลาทำงานมีวิธีการนับอย่างไร

4. วันหยุด หมายความว่าอะไร

5. วันลา หมายความว่าอะไร

การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์คืออะไร

การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์คืออะไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 11183-11186/2553

นายวรยุทธ คงมาก กับพวกรวม 4 คน โจทก์

บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. การทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์คืออะไร

2. เงินค่าทำงานที่ศรีราชา เงินค่าเช่าบ้าน และเงินค่าทำงานกะเป็นค่าจ้างไหม

3. ลูกจ้างระดับผู้จัดการมีสิทธิได้ค่าล่วงเวลาไหม

4. ลูกจ้างระดับผู้จัดการมีสิทธิได้ค่าทำงานในวันหยุดไหม

5. ลูกจ้างระดับผู้จัดการมีสิทธิได้ค่าล่วงเวลาในวันหยุดไหม

สัญญาจ้างแรงงานมีผลวันสัมภาษณ์ หรือวันลงนาม

สัญญาจ้างแรงงานมีผลวันสัมภาษณ์ หรือวันลงนาม

คำพิพากษาฎีกาที่ 7753 7772/2553

นายบรรยงค์ ไชยสะอาด กับพวกรวม 20 คน โจทก์

บริษัท ซีเอชอีซี (ไทย) จำกัด ที่ 1 จำเลย

ไชน่า ฮาร์เบอร์ เอ็นจิเนียริ่ง คัมปะนี (กรุ๊ป) ที่ 2

กิจการร่วมค้าเชค ที่ 3

เรื่อง 1. สัญญาจ้างแรงงานมีผลวันสัมภาษณ์ หรือวันลงนาม

2. ทำงานก่อสร้างวันละ 9 ชั่วโมง เป็นการทำงานล่วงเวลา 1 ชั่วโมง

เมื่อลูกจ้างทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง ละทิ้งหน้าที่ จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ขณะยื่นข้อเรียกร้องเลิกจ้างได้ไหม

เมื่อลูกจ้างทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง ละทิ้งหน้าที่ จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ขณะยื่นข้อเรียกร้องเลิกจ้างได้ไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 3451-3452/2549

บริษัท อัลมอนด์ (ไทยแลนด์) จำกัด โจทก์

นายธีรศักดิ์ บุญธรรม ที่ 1 กับพวกรวม 9 คน และจำเลยร่วมที่ 1 ถึงที่ 40 จำเลย

เรื่อง เหตุเลิกจ้าง เนื่องจาก :

1. เมื่อลูกจ้างทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง ละทิ้งหน้าที่ จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ขณะยื่นข้อเรียกร้องเลิกจ้างได้ไหม

2. เมื่อพนักงานหยุดงานขณะยื่นข้อเรียกร้องและพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานเข้ามาไกล่เกลี่ยโดยทำข้อตกลงในวันนั้นเป็นข้อตกลงที่ชอบด้วยกฎหมายไหม

การเลิกจ้าง โดยอ้างสัญญาที่มีกำหนดแน่นอน  ลูกจ้างมีการทำงานต่อเนื่องเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

การเลิกจ้าง โดยอ้างสัญญาที่มีกำหนดแน่นอน ลูกจ้างมีการทำงานต่อเนื่องเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 3800/2553

นายณรงค์ ไชยวงศ์ โจทก์

บริษัท เจดีซี อินดัสเทรียล (ไทยแลนด์) จำกัด จำเลย

เรื่่อง 1. การเลิกจ้าง โดยอ้างสัญญาที่มีกำหนดแน่นอน ลูกจ้างมีการทำงานต่อเนื่องเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

2. กรณีอุทธรณ์การคำนวณคำสั่งเลิกจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามกำหนดจ่ายค่าจ้าง เป็นการอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงหรือไม่

ฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน  ต้องฟ้องภายในกี่วัน

ฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ต้องฟ้องภายในกี่วัน

คำพิพากษาฎีกาที่ 7968/2553

บริษัท แมจิก เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด โจทก์

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ที่ 1 จำเลย

นายฉัตรดนัย ด้วงมหาสอน ที่ 2

เรื่อง ฟ้องเพิกถอนคำสั่งพนักงานตรวจแรงงาน ต้องฟ้องภายในกี่วัน

กรณีเลิกจ้างโจทก์ เนื่องจากปฏิบัติงานล่าช้า ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ฯลฯ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

กรณีเลิกจ้างโจทก์ เนื่องจากปฏิบัติงานล่าช้า ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ฯลฯ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 5863-5873/2553

นายชัยยุทธ ลิมลาวัลย์ ที่ 1 กับพวกรวม 11 คน โจทก์

บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมิกัลไทย จำกัด (มหาชน) จำเลย

เรื่อง 1. กรณีเลิกจ้างโจทก์ เนื่องจากปฏิบัติงานล่าช้า ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ละเลย ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นความผิดต่อข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานของจำเลยเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่

2. ไม่มอบรหัสเข้าระบบคอมพิวเตอร์ เป็นความผิดร้ายแรงไหม

3. นายจ้างควรมีวิธีการอย่างไร ในการควบคุมระบบคอมพิวเตอร์

นายจ้างอ้างภาวะขาดทุนเป็นเหตุเลิกจ้าง

นายจ้างอ้างภาวะขาดทุนเป็นเหตุเลิกจ้าง

คำพิพากษาฎีกาที่ 3240 3247/2553

นายสมพงษ์ บางนาชาติ ที่ 1 กับพวกอีก 8 คน โจทก์

บริษัท วาย เค เค (ประเทศไทย) จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. นายจ้างอ้างเหตุประสบปัญหาภาวะขาดทุน ไม่สามารถดำเนินกิจการได้ใช้เป็นเหตุเลิกจ้าง แต่มีการจ้างเหมาบุคคลภายนอกมารับขนส่งแทน การเลิกจ้าง มีเหตุจำเป็นและเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม หรือไม่

2. กรณีลูกจ้างได้รับเงินค่าชดเชย เงินบำเหน็จ และเงินช่วยเหลือพิเศษจากนายจ้าง โดยทำบันทึกสละข้อเรียกร้องเงินอื่นใดจากนายจ้างแล้ว ลูกจ้างสามารถเรียกร้องค่าเสียหายจากนายจ้างอีกได้ หรือไม่

นายจ้างส่งลูกจ้างไปอบรมโดยออกค่าใช้จ่ายให้ หลังอบรมลูกจ้างต้องทำงาน 3 ปี  หากไม่ทำตามต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายหรือไม่

นายจ้างส่งลูกจ้างไปอบรมโดยออกค่าใช้จ่ายให้ หลังอบรมลูกจ้างต้องทำงาน 3 ปี หากไม่ทำตามต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 5971/2553

บริษัทแมทเทล กรุงเทพ จำกัดโจทก์

นางสาวจ. ที่ 1จำเลย

นางสาวภ.ที่ 2

เรื่อง1. นายจ้างกับลูกจ้างทำข้อตกลงกัน โดยนายจ้างส่งลูกจ้างไปอบรมด้วยค่าใช้จ่ายที่นายจ้างออกให้ทั้งหมด และลูกจ้างเมื่ออบรมเสร็จหลักสูตร ลูกจ้างจะต้องทำงานให้นายจ้างอย่างน้อย 3 ปี หากลูกจ้าง ไม่ทำตามข้อตกลง ลูกจ้างต้องชดใช้ค่าเสียหายให้กับนายจ้างตามที่จ่ายไปจริง ข้อตกลงดังกล่าวทำได้หรือไม่

2. ผู้ค้ำประกันบุคคลเข้าทำงานย่อมมีผลผูกพันตามสัญญาค้ำประกัน

 

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว