preloader

08-1935-4607

pbnitico@ksc.th.com

หมวดหมู่: ฎีกาแรงงาน

ฎีกาแรงงาน ฎีกาที่น่าสนใจ ในกฎหมายแรงงงาน มีเคสฎีกากว่า 100 ฎีกา ซึ่งท่านสามารถหาอ่านและค้นหาข้อมูลฎีกาที่เกี่ยวกับท่านได้ ตามความต้องการเป็นการศึกษาฎีกา

เดิมเวลาทำงาน 8.00  17.00 น.  แต่เปลี่ยนเป็น 9.00-18.00 น.  ถือว่าเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างไหม

เดิมเวลาทำงาน 8.00 17.00 น. แต่เปลี่ยนเป็น 9.00-18.00 น. ถือว่าเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 15914-15917/2553

บริษัท ไก่สด เซนทาโก จำกัด ผู้ร้อง

นางกุลนิภา พันตน ที่ 1 กับพวกรวม 4 คน ผู้คัดค้าน

เรื่อง 1. เดิมมีเวลาทำงาน 8.00 17.00 น. แต่เปลี่ยนเป็น 9.00-18.00 น. ถือว่าเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างไหม
2. ปิดทางเข้า-ออกเลิกจ้างได้ไหม

ผู้ค้ำประกัน ค้ำประกันลูกจ้างตำแหน่งหนึ่ง  แต่ลูกจ้างย้ายไปทำงานอีกตำแหน่งหนึ่ง ย่อมพ้นความรับผิดไหม

ผู้ค้ำประกัน ค้ำประกันลูกจ้างตำแหน่งหนึ่ง แต่ลูกจ้างย้ายไปทำงานอีกตำแหน่งหนึ่ง ย่อมพ้นความรับผิดไหม

คำพิพากษาฎีกาที่ 15904/2553

บริษัทการบินไทย จำกัดโจทก์

นางสาวจุฑารัตน์ ณ สงขลา ที่ 1
นายโกวิท โชติรส โดยนายวีรวัฒน์ โชติรส
ผู้เข้าเป็นคู่ความแทน ที่ 2จำเลย

เรื่อง(1) ผู้ค้ำประกัน ค้ำประกันลูกจ้างตำแหน่งหนึ่ง แต่ลูกจ้างย้ายไปทำงานอีกตำแหน่งหนึ่ง ย่อมพ้นความรับผิดไหม
(2) อ้าง ป.พ.พ. มาตรา 223 และมาตรา 680 ดูประกอบ
(3) หากจะย้ายหน้าที่ลูกจ้าง ควรเปลี่ยนสัญญาค้ำประกันทุกครั้ง

ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาเสร็จแล้วออกไปจากบริษัทฯโดยไม่ตอกบัตรลงเวลา  เป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและประกาศของนายจ้าง ถือเป็นกรณีกระทำความผิดอย่างร้ายแรง

ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาเสร็จแล้วออกไปจากบริษัทฯโดยไม่ตอกบัตรลงเวลา เป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและประกาศของนายจ้าง ถือเป็นกรณีกระทำความผิดอย่างร้ายแรง

คำพิพากษาฎีกาที่ 12194-12198/2553

นายไพรินทร์ ชื่นไสว ที่ 1 กับพวกรวม 6 คนโจทก์

บริษัท บางนา ซี.ดี. จำกัด จำเลย

เรื่อง 1. ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาเสร็จแล้วออกไปจากบริษัทฯโดยไม่ตอกบัตรลงเวลา เป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานและประกาศของนายจ้าง ถือเป็นกรณีกระทำความผิดอย่างร้ายแรง
2. วิธีการควบคุมการทำงานล่วงเวลาทำอย่างไร
3. ลูกจ้างไม่ปั๊มบัตรเข้าออก และนายจ้างยังไม่จ่ายค่าล่วงเวลาจะถือเป็นความผิดสำเร็จไหม

ผู้มีอำนาจเลิกจ้างคือใคร  วิธีการมอบอำนาจเลิกจ้างทำอย่างไร

ผู้มีอำนาจเลิกจ้างคือใคร วิธีการมอบอำนาจเลิกจ้างทำอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 1836/2554

นายสมบัติ อ.วัฒนกุล โจทก์

การรถไฟแห่งประเทศไทย ที่ 1
นายพิจารณ์ รัตนราตรี ที่ 2 จำเลย

เรื่อง1. ผู้มีอำนาจเลิกจ้างคือใคร
2. วิธีการมอบอำนาจเลิกจ้างทำอย่างไร
3. หากไม่มอบอำนาจเลิกจ้างให้ถูกต้องผลเป็นอย่างไร
4. ก่อนเลิกจ้างต้องมีการสอบสวนทุกครั้งไหม
5. ระเบียบการสอบสวนที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร
6. วิธีการสอบสวนต้องทำอย่างไร
7. หากใช้คำว่า ตรวจสอบความผิด ดีกว่า การสอบสวน ไหม
8. ยิ่งมีระเบียบการสอบสวนละเอียดมากเท่าใดก็ต้องทำให้ถูกขั้นตอน

นายจ้างได้ประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณี  ตามพ.ร.บ. คุ้มครองฯ ม.29 โดยมิได้รวมวันหยุดประเพณี 12 วัน  และเปลี่ยนไปเป็นวันหยุดอื่นแทนโดยลูกจ้างยินยอม  ถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่

นายจ้างได้ประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณี ตามพ.ร.บ. คุ้มครองฯ ม.29 โดยมิได้รวมวันหยุดประเพณี 12 วัน และเปลี่ยนไปเป็นวันหยุดอื่นแทนโดยลูกจ้างยินยอม ถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 11182/2553

บริษัท ซัมซุง อิเล็คโทร-แม็คคานิค ( ประเทศไทย ) จำกัด โจทก์

นางสุวรรณนา ขันติวิศิษฎ์ จำเลย

เรื่อง 1. นายจ้างได้ประกาศกำหนดวันหยุดตามประเพณี ตามพ.ร.บ. คุ้มครองฯ ม.29 โดยมิได้รวมวันหยุดประเพณี 12 วัน และเปลี่ยนไปเป็นวันหยุดอื่นแทนโดยลูกจ้างยินยอม ถือว่าเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายหรือไม่
2. เมื่อนายจ้างได้จ่ายค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้เมื่อลูกจ้างทำงานในวันที่นายจ้างประกาศกำหนดเป็นวันหยุดประเพณีแล้ว นายจ้างจะต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดตามประเพณีให้แก่ลูกจ้างอีกหรือไม่ นายจ้างอ้างเหตุจ่ายค่าจ้างเกินกว่าปกติกับการที่ลูกจ้างได้ให้ความยินยอมได้หรือไม่

สัญญาจ้างที่มีการกำหนดระยะเวลา และมีการต่อสัญญาติดต่อกัน เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างที่แน่นอนหรือไม่

สัญญาจ้างที่มีการกำหนดระยะเวลา และมีการต่อสัญญาติดต่อกัน เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างที่แน่นอนหรือไม่

คำพิพากษาฎีกาที่ 16006/2553
นายวิตโตริโอ แบร์ตินี่ โจทก์
บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน)จำเลย
เรื่อง1. สัญญาจ้างที่มีการกำหนดระยะเวลา และมีการต่อสัญญาติดต่อกัน เป็นสัญญาที่มีกำหนดระยะเวลาการจ้างที่แน่นอนหรือไม่
2. สัญญาจ้างที่มีการบอกเลิกจ้างตามกำหนดในสัญญาจะต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างตาม มาตรา 118 หรือไม่ และการเลิกจ้างดังกล่าวเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรมหรือไม่
3. การที่นายจ้างจ่ายค่าจ้างโดยกำหนดเงื่อนไขว่าให้สละสิทธิฟ้องร้อง หากลูกจ้างไม่ปฏิบัติตาม นายจ้างไม่จ่ายค่าจ้างให้ ถือเป็นการจงใจไม่จ่ายค่าจ้างหรือไม่ และนายจ้างต้องจ่ายเงินเพิ่ม ตามมาตรา 9 หรือไม่

เดิมมีสภาพการทำงาน 7.30 – 16.30 น. แต่ผ่อนปรนทำงานเพียง 7.30 – 15.30 น. ถือว่าเป็นกรณีที่นายจ้างให้ประโยชน์ ไม่เป็นสภาพการจ้างที่ต้องปฏิบัติตลอดไป

เดิมมีสภาพการทำงาน 7.30 – 16.30 น. แต่ผ่อนปรนทำงานเพียง 7.30 – 15.30 น. ถือว่าเป็นกรณีที่นายจ้างให้ประโยชน์ ไม่เป็นสภาพการจ้างที่ต้องปฏิบัติตลอดไป

คำพิพากษาฎีกาที่ 12821-12824/2553
นายยุทธนา จิตติยพล ที่ 1 กับพวกรวม 4 คนโจทก์
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย จำเลย

เรื่อง1. เดิมมีสภาพการทำงาน 7.30 16.30 น. แต่ผ่อนปรนทำงานเพียง 7.30 -15.30 น.
2. แม้ดั้งเดิมเมื่อทำงานหลัง 15.30 น. ก็จ่ายค่าล่วงเวลาให้
3. ถือว่าเป็นกรณีที่นายจ้างให้ประโยชน์ ไม่เป็นสภาพการจ้างที่ต้องปฏิบัติตลอดไป
4. ต่อมานายจ้างยกเลิกเวลาทำงานเป็น 7.30 16.30 น. ตามเดิมจะได้ไหม

การใช้อุปกรณ์ของนายจ้างเพื่อประโยชน์ในธุรกิจส่วนตัวของลูกจ้าง  เป็นการทุจริตต่อหน้าที่  นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

การใช้อุปกรณ์ของนายจ้างเพื่อประโยชน์ในธุรกิจส่วนตัวของลูกจ้าง เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

คำพิพากษาฎีกาที่ 12820/2553
นายเอ็ดเวอร์ด แอนด์ดริว อีวานส์โจทก์
บริษัท ไรท์ จำกัด ที่ 1 กับพวกรวม 5 คนจำเลย

เรื่องการใช้อุปกรณ์ของนายจ้างเพื่อประโยชน์ในธุรกิจส่วนตัวของลูกจ้าง เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร

ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร

คำพิพากษาฎีกาที่ 3231/2554
บริษัท ห้องปฏิบัติการกลางตรวจสอบผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหาร จำกัดโจทก์
นายจรัส ครชาตรี ในฐานะพนักงานตรวจแรงงานจำเลย

เรื่อง 1. เมื่อระเบียบ กำหนดว่า การแบ่งซื้อแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อหรือจะจ้างในครั้งเดียวกัน เพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด เพื่อให้อำนาจอนุมัติการซื้อการจ้างเปลี่ยนไปจะกระทำมิได้ หากฝ่าฝืนระเบียบดังกล่าวเป็นกรณีร้ายแรง ตามมาตรา 119(4)
2. ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างที่ดีควรมีเงื่อนไขอย่างไร

การสละสิทธิเรียกร้องทำให้ไม่มีอำนาจที่จะรื้อฟื้นสิทธิที่ระงับไปแล้ว

การสละสิทธิเรียกร้องทำให้ไม่มีอำนาจที่จะรื้อฟื้นสิทธิที่ระงับไปแล้ว

คำพิพากษาฎีกาที่ 15902/2553
นายคมสันต์ ปลื้มจิตต์โจทก์
บริษัท เบอร์ลี่ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน)จำเลย

เรื่อง1. การสละสิทธิเรียกร้องทำให้ไม่มีอำนาจที่จะรื้อฟื้นสิทธิที่ระงับไปแล้ว
2. ค่าเปอร์เซ็นต์การขายแก้ไขได้หรือไม่
3. วิธีเปลี่ยนแปลงค่าเปอร์เซ็นต์การขายทำอย่างไร
4. ค่าเปอร์เซ็นต์การขายเป็นสภาพการจ้างหรือไม่

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน รับว่าต่างอรรถคดีทุกศาลทั่วราชอาณาจักร รับแก้ต่าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ทนายแรงงาน รับว่าความคดีแรงงาน ถามตอบปัญหากฏหมายแรงงาน รับเป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน เพราะคนทำงาน จึงควรรู้เล่ห์เหลี่ยมกฎหมาย ทนายความผู้เชี่ยวชาญกฎหมายแรงงาน และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ฟ้องคดีเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ฟ้องคดีละเมิดนายจ้าง ฟ้องเรียกเงินทดแทน ทนายฟ้องนายจ้าง ปรึกษาทนายคดีแรงงาน ทนายแรงงาน ให้คำปรึกษาด้าน กฎหมายแรงงาน ดังนั้น การว่าความในคดีแรงงาน ทนายความหรือนักกฎหมายต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในตัวบทกฎหมาย ต้องที่นี่ที่เดียว ที่ปรึกาากฎหมายแรงงาน ไพบูลย์ นิติ จำกัด ทนายแรงงาน ที่มีความเชียวชาญ ประสบการณ์กว่า 20 ปี ทั้งยังมีเปิดอบรมกฎหมายแรงงานอีกด้วย ทั้งยังสามารถดูฎีกาแรงงานมากมายที่นี่ที่เดียว