เลิกจ้างไม่เป็นธรรม

การลงโทษ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ตามมาตรา 49 (ศาลแรงงาน)

1.  เลิกจ้างโดยไม่มีสาเหตุ  (ฎีกาที่ 2652/2523 , 3941/2549)       

2.  เลิกจ้างโดยไม่มีความผิด  (ฎีกาที่ 1458/2524 , 3431/2525 , 46/2537)                     

3.  มีความผิดไม่ถึงขั้นเลิกจ้าง                                                 

4.  เลิกจ้างโดยเหตุอื่น นอกเหนือสัญญาจ้าง  (ฎีกาที่ 1253/2526)                                         

5.  เลิกจ้างอันเป็นการลงโทษเกินระดับที่กำหนดไว้   (ฎีกาที่ 1684/2526 , 3453/2549)

6. ข้ามขั้นลำดับ หรือ ขั้นตอน    (ฎีกาที่ 3360/2526)     

7. ขัดต่อระเบียบของนายจ้าง  (ฎีกาที่ 2067/2529)                                                     

8. อ้างว่ากระทำความผิดแต่ไม่มีหลักฐาน  (ฎีกาที่ 2729/2529)                                   

9. เลือกปฏิบัติ ลงโทษไม่เท่ากันโดยไม่มีสาเหตุ(ฎีกาที่ 5324/2538)      

10.  ลดคนแต่มีลูกจ้างผู้รับเหมา (ฎีกา 10217/2551)

11.  ไม่เคยมีหนังสือเตือนก่อนเลย

12.  เลิกจ้างโดยไม่มีเหตุสมควร (ฎีกาที่ 1347/2525 , 328/2543)

13.  เลิกจ้างกรณีปรับปรุงหน่วยงาน  (ฎีกาที่ 5396/2540 , 4799/2541)       

14.  ลูกจ้างฟ้องการกระทำอันไม่เป็นธรรมแล้ว ยังมาฟ้องเลิกจ้างไม่เป็นธรรมได้อีก  (ตามฎีกาที่ 12716 – 12718/2555)

                         ————————————————————————————–

โดย : นายไพบูลย์       ธรรมสถิตย์มั่น ที่ปรึกษากฎหมายแรงงาน

เลิกจ้างไม่เป็นธรรม

การลงโทษ เลิกจ้างไม่เป็นธรรม ตามมาตรา 49

ในความเป็นจริงการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม หรือการบอกเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ผู้ที่เป็นลูกจ้างสามารถร้องเรียน เพื่อไม่ให้นายจ้างถูกเอารัดเอาเปรียบ สามารถอ่านตัวบทกฎหมายแรงงาน เพื่อคุ้มครองตัวเองก่อน เพราะยังมีกฎหมายแรงงาน อีกหลายข้อที่คุ้มครอง ลูกจ้างในกรณี เลิกจ้างไม่เป็นธรรม